การสืบค้นข้อมูล
การสืบค้นข้อมูลออนไลน์ (GIT Web OPAC) เป็นการให้บริการสืบค้นข้อมูลสื่อทุกประเภทที่ห้องสมุดทำรายการ ซึ่งสามารถเรียกดูรายละเอียดทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท อาทิ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ลักษณะของทรัพยากร สถานที่เก็บ และสถานะของสื่อ
คุณสามารถค้นหาทรัพยากรประเภทต่างๆ ตามรายการสืบค้นดังต่อไปนี้:
Title ชื่อเรื่อง
Author ชื่อผู้แต่ง
Subject หัวเรื่อง
Keyword คำสำคัญ
Abstract บทคัดย่อ
Barcode บาร์โค้ด
Call No. เลขหมู่
ISBN/ISSN เลขมาตรฐาน
Publisher สำนักพิมพ์
Main source ทรัพยากรหลัก
เริ่มต้นการใช้งานการสืบค้นข้อมูลออนไลน์
โปรดเลือกระบุแนวสืบค้นตามที่ต้องการ "ชื่อเรื่อง", "หัวเรื่อง", "ผู้แต่ง", "เลขมาตรฐาน", "เลขเรียก", หรือ "สำนักพิมพ์" โดยพิมพ์คำที่ต้องการค้นหา เพื่อให้ค้นหารายการที่ขึ้นต้นด้วยคำที่ระบุ หรือ ใช้เครื่องหมาย % นำหน้า เพื่อค้นหาโดยไม่สนใจตำแหน่งของคำ และสามารถเลือกการสืบค้นแบบ Boulean Search โดยเลือกใช้ และ, หรือ ยกตัวอย่างเช่น
ตัวอย่างคำค้น "ชื่อเรื่อง" พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา Clothing and Jewelry
ตัวอย่างคำค้น "หัวเรื่อง" พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา Diamond
ตัวอย่างคำค้นตำแหน่งใดก็ได้ เพื่อค้นหาโดยไม่สนใจตำแหน่งของคำ %Jewelry หรือ %Jew
คำแนะนำ: การใส่เครื่องหมาย % นำหน้าคำที่ต้องการค้นหา โดยไม่สนใจตำแหน่งของคำ จะทำให้การสืบค้นง่ายขึ้น
คุณสามารถค้นหาทรัพยากรประเภทต่างๆ ตามรายการสืบค้นดังต่อไปนี้:
Title ชื่อเรื่อง
Author ชื่อผู้แต่ง
Subject หัวเรื่อง
Keyword คำสำคัญ
Abstract บทคัดย่อ
Barcode บาร์โค้ด
Call No. เลขหมู่
ISBN/ISSN เลขมาตรฐาน
Publisher สำนักพิมพ์
Main source ทรัพยากรหลัก
เริ่มต้นการใช้งานการสืบค้นข้อมูลออนไลน์
โปรดเลือกระบุแนวสืบค้นตามที่ต้องการ "ชื่อเรื่อง", "หัวเรื่อง", "ผู้แต่ง", "เลขมาตรฐาน", "เลขเรียก", หรือ "สำนักพิมพ์" โดยพิมพ์คำที่ต้องการค้นหา เพื่อให้ค้นหารายการที่ขึ้นต้นด้วยคำที่ระบุ หรือ ใช้เครื่องหมาย % นำหน้า เพื่อค้นหาโดยไม่สนใจตำแหน่งของคำ และสามารถเลือกการสืบค้นแบบ Boulean Search โดยเลือกใช้ และ, หรือ ยกตัวอย่างเช่น
ตัวอย่างคำค้น "ชื่อเรื่อง" พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา Clothing and Jewelry
ตัวอย่างคำค้น "หัวเรื่อง" พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา Diamond
ตัวอย่างคำค้นตำแหน่งใดก็ได้ เพื่อค้นหาโดยไม่สนใจตำแหน่งของคำ %Jewelry หรือ %Jew
คำแนะนำ: การใส่เครื่องหมาย % นำหน้าคำที่ต้องการค้นหา โดยไม่สนใจตำแหน่งของคำ จะทำให้การสืบค้นง่ายขึ้น
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต คือ กลุ่มเครือข่ายย่อยของคอมพิวเตอร์จำนวนมากที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานการสื่อสารเดียวกันจนเป็นสังคมเครือข่ายขนาดใหญ่ ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร ภาพและเสียงได้ รวมทั้งสามารถค้นหาข้อมูลจากที่ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
บริการต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต ได้แก่
1. Word Wide Web (WWW หรือ Web)
2. FTP (Pile Transfer Protocol)
3. จุดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
4. การอ่านโฆษณาประชาสัมพันธ์
5. การซื้อสินค้าและบริการ
6. การสนทนาออนไลน์ (Chat)
7. การเล่นเกม
8. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
9. การดูโทรศัพท์และฟังเพลง
10. การดูโทรทัศน์และฟังเพลง
การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาสิ่งที่เราสนใจได้ใน World Wide Web หรือ WWW ซึ่งเป็นบริการข้อมูลแบบมัลติมีเดียที่เก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่มหาศาลในอินเทอร์เน็ตให้เป็นกลุ่มเป็นก้อน และเชื่อโยงถึงกันได้ ใน WWW แต่ละแห่งจะจัดทำข้อมูลทั้งข้อความปกติ หรือแบบมัลติมีเดียที่ประกอบด้วยเสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ดังนั้น เมื่อข้าไปใช้บริการ WWW ในที่แห่งหนึ่งก็สามารถเชื่อมไปยัง WWW แห่งอื่นได้
อินเทอร์เน็ต คือ กลุ่มเครือข่ายย่อยของคอมพิวเตอร์จำนวนมากที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานการสื่อสารเดียวกันจนเป็นสังคมเครือข่ายขนาดใหญ่ ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร ภาพและเสียงได้ รวมทั้งสามารถค้นหาข้อมูลจากที่ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
บริการต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต ได้แก่
1. Word Wide Web (WWW หรือ Web)
2. FTP (Pile Transfer Protocol)
3. จุดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
4. การอ่านโฆษณาประชาสัมพันธ์
5. การซื้อสินค้าและบริการ
6. การสนทนาออนไลน์ (Chat)
7. การเล่นเกม
8. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
9. การดูโทรศัพท์และฟังเพลง
10. การดูโทรทัศน์และฟังเพลง
การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาสิ่งที่เราสนใจได้ใน World Wide Web หรือ WWW ซึ่งเป็นบริการข้อมูลแบบมัลติมีเดียที่เก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่มหาศาลในอินเทอร์เน็ตให้เป็นกลุ่มเป็นก้อน และเชื่อโยงถึงกันได้ ใน WWW แต่ละแห่งจะจัดทำข้อมูลทั้งข้อความปกติ หรือแบบมัลติมีเดียที่ประกอบด้วยเสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ดังนั้น เมื่อข้าไปใช้บริการ WWW ในที่แห่งหนึ่งก็สามารถเชื่อมไปยัง WWW แห่งอื่นได้
การสืบค้นข้อมูลด้วย Search Engine
ในโลกของอินเทอร์เน็ตข้อมูลมีมากมายเหลือเกิน ถ้าจะใช้เวลาในการอ่านทุกสิ่งบน เข้าไปค้นหาอินเทอร์เน็ตคงต้องใช้เวลานานหลายชั่วอายุคน จริง ๆ แล้วเราคงไม่มีความสนใจในทุกเรื่อง แต่คงสนใจเฉพาะเรื่องที่เราสนใจเท่านั้น จึงมีคนคิดเครื่องมือในการช่วยค้นหาข้อมูลที่ต้องการ นั้นก็คือ Search Engine
Search Engine คือ เครื่องมือการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้ โดยกรอก ข้อมูลที่ต้องการค้นหา หรือ Keyword (คีย์เวิร์ด) เข้าไปที่ช่อง Search Box แล้วกด Enter แค่นี้ข้อมูลที่เราค้นหาก็จะถูกแสดงออกมาอย่างมากมาย เพื่อให้เราเลือกข้อมูลตรงกับความต้องการของเรามากที่สุด โดยลักษณะการแสดงผลของ Search Engine นั้นจะทำการแสดงผลแบบ เรียงอันดับ Search Results ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของเรา Search Engine โดยทั่วไปมี 3 ประเภท โดยมีหลักการทำงานที่ต่างกัน และการจัดอันดับการค้นหาข้อมูลก็ต่างกัน เพราะมีลักษณะการทำงานที่ต่างกัน ทำให้โดยทั่ว ๆ ไปแล้วจะมีการแบ่งออกเป็นหลาย ๆ ประเภทด้วยกัน ดังต่อไปนี้ คือ ประเภทที่ 1 Crawler Based Search Engines คือ เครื่องมือการค้นหาบนอินเตอร์เน็ตแบบอาศัยการบันทึกข้อมูล และ จัดเก็บข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งจะเป็นจำพวก Search Engine ที่ได้รับความนิยมสูงสุด เนื่องจากให้ผลการค้นหาแม่นยำที่สุด และการประมวลผลการค้นหาสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จึงทำให้มีบทบาทในการค้นหาข้อมูลมากที่สุดในปัจจุบัน โดยมีองค์ประกอบหลักเพียง 2 ส่วนด้วยกันคือ 1. ฐานข้อมูล โดยส่วนใหญ่แล้ว Crawler Based Search Engine เหล่านี้จะมีฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง ที่มีระบบการประมวลผล และ การจัดอันดับที่เฉพาะ เป็นเอกลักษณ์ของตนเองอย่างมาก 2. ซอฟแวร์ คือ เครื่องมือหลักสำคัญที่สุดอีกส่วนหนึ่งสำหรับ Serch Engine ประเภทนี้ เนื่องจากต้องอาศัยโปรแกรมเล็กๆ ทำหน้าที่ในการตรวจหา และทำการจัดเก็บข้อมูล หน้าเพจ หรือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ในรูปแบบของการทำสำเนาข้อมูล เหมือนกับต้นฉบับทุกอย่าง ซึ่งเราจะรู้จักกันในนาม Spider หรือ Web Crawler หรือ Search Engine
Robots
ตัวอย่างหนึ่งของ Crawler Based Search Engine ชื่อดัง http://www.google.com
ประเภทที่ 2 Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญเว็บไซต์ที่ให้สามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมากๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลือง ซึ่งจะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่ อย่างชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการเปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล เพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blog มากมายที่มีเนื้อหาคล้าย ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลได้อย่างตรงประเด็นที่สุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ตัวอย่างเช่น
ODP Web Directory ชื่อดังของโลก ที่มี Search Engine มากมายใช้เป็นฐานข้อมูล Directory
1. ODP หรือ Dmoz ที่หลาย ๆ คนรู้จัก ซึ่งเป็น Web Directory ที่ใหญ่ที่สุดในโลก Search Engine หลาย ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากที่แห่งนี้เกือบทั้งสิ้น เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอื่น ๆ อีกมากมาย ODP มีการบันทึกข้อมูลประมาณ 80 ภาษาทั่วโลก รวมถึงภาษาไทยเราด้วยครับ (URL : http://www.dmoz.org ) 2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ที่มีชื่อเสียงอีกเช่นกัน และเป็นที่รู้จักมากที่สุดในเมืองไทย (URL : http://webindex.sanook.com )
ประเภทที่ 3 Meta Search Engine คือ Search Engine ที่ใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษาHTML ซึ่งมีการประกาศชุดคำสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML นั่นเองเช่น ชื่อผู้พัฒนา คำค้นหา เจ้าของเว็บ หรือ บล็อก คำอธิบายเว็บหรือบล็อกอย่างย่อ ผลการค้นหาของ Meta Search Engine นี้มักไม่แม่นยำอย่างที่คิด เนื่องจากบางครั้งผู้ให้บริการหรือ ผู้ออกแบบเว็บสามารถใส่อะไรเข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเว็บ หรือ บล็อกของตนเองและอีกประการหนึ่งก็คือ มีการอาศัย Search Engine Index Server หลาย ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทำให้ผลการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร
ในโลกของอินเทอร์เน็ตข้อมูลมีมากมายเหลือเกิน ถ้าจะใช้เวลาในการอ่านทุกสิ่งบน เข้าไปค้นหาอินเทอร์เน็ตคงต้องใช้เวลานานหลายชั่วอายุคน จริง ๆ แล้วเราคงไม่มีความสนใจในทุกเรื่อง แต่คงสนใจเฉพาะเรื่องที่เราสนใจเท่านั้น จึงมีคนคิดเครื่องมือในการช่วยค้นหาข้อมูลที่ต้องการ นั้นก็คือ Search Engine
Search Engine คือ เครื่องมือการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้ โดยกรอก ข้อมูลที่ต้องการค้นหา หรือ Keyword (คีย์เวิร์ด) เข้าไปที่ช่อง Search Box แล้วกด Enter แค่นี้ข้อมูลที่เราค้นหาก็จะถูกแสดงออกมาอย่างมากมาย เพื่อให้เราเลือกข้อมูลตรงกับความต้องการของเรามากที่สุด โดยลักษณะการแสดงผลของ Search Engine นั้นจะทำการแสดงผลแบบ เรียงอันดับ Search Results ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของเรา Search Engine โดยทั่วไปมี 3 ประเภท โดยมีหลักการทำงานที่ต่างกัน และการจัดอันดับการค้นหาข้อมูลก็ต่างกัน เพราะมีลักษณะการทำงานที่ต่างกัน ทำให้โดยทั่ว ๆ ไปแล้วจะมีการแบ่งออกเป็นหลาย ๆ ประเภทด้วยกัน ดังต่อไปนี้ คือ ประเภทที่ 1 Crawler Based Search Engines คือ เครื่องมือการค้นหาบนอินเตอร์เน็ตแบบอาศัยการบันทึกข้อมูล และ จัดเก็บข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งจะเป็นจำพวก Search Engine ที่ได้รับความนิยมสูงสุด เนื่องจากให้ผลการค้นหาแม่นยำที่สุด และการประมวลผลการค้นหาสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จึงทำให้มีบทบาทในการค้นหาข้อมูลมากที่สุดในปัจจุบัน โดยมีองค์ประกอบหลักเพียง 2 ส่วนด้วยกันคือ 1. ฐานข้อมูล โดยส่วนใหญ่แล้ว Crawler Based Search Engine เหล่านี้จะมีฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง ที่มีระบบการประมวลผล และ การจัดอันดับที่เฉพาะ เป็นเอกลักษณ์ของตนเองอย่างมาก 2. ซอฟแวร์ คือ เครื่องมือหลักสำคัญที่สุดอีกส่วนหนึ่งสำหรับ Serch Engine ประเภทนี้ เนื่องจากต้องอาศัยโปรแกรมเล็กๆ ทำหน้าที่ในการตรวจหา และทำการจัดเก็บข้อมูล หน้าเพจ หรือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ในรูปแบบของการทำสำเนาข้อมูล เหมือนกับต้นฉบับทุกอย่าง ซึ่งเราจะรู้จักกันในนาม Spider หรือ Web Crawler หรือ Search Engine
Robots
ตัวอย่างหนึ่งของ Crawler Based Search Engine ชื่อดัง http://www.google.com
ประเภทที่ 2 Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญเว็บไซต์ที่ให้สามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมากๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลือง ซึ่งจะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่ อย่างชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการเปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล เพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blog มากมายที่มีเนื้อหาคล้าย ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลได้อย่างตรงประเด็นที่สุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ตัวอย่างเช่น
ODP Web Directory ชื่อดังของโลก ที่มี Search Engine มากมายใช้เป็นฐานข้อมูล Directory
1. ODP หรือ Dmoz ที่หลาย ๆ คนรู้จัก ซึ่งเป็น Web Directory ที่ใหญ่ที่สุดในโลก Search Engine หลาย ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากที่แห่งนี้เกือบทั้งสิ้น เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอื่น ๆ อีกมากมาย ODP มีการบันทึกข้อมูลประมาณ 80 ภาษาทั่วโลก รวมถึงภาษาไทยเราด้วยครับ (URL : http://www.dmoz.org ) 2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ที่มีชื่อเสียงอีกเช่นกัน และเป็นที่รู้จักมากที่สุดในเมืองไทย (URL : http://webindex.sanook.com )
ประเภทที่ 3 Meta Search Engine คือ Search Engine ที่ใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษาHTML ซึ่งมีการประกาศชุดคำสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML นั่นเองเช่น ชื่อผู้พัฒนา คำค้นหา เจ้าของเว็บ หรือ บล็อก คำอธิบายเว็บหรือบล็อกอย่างย่อ ผลการค้นหาของ Meta Search Engine นี้มักไม่แม่นยำอย่างที่คิด เนื่องจากบางครั้งผู้ให้บริการหรือ ผู้ออกแบบเว็บสามารถใส่อะไรเข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเว็บ หรือ บล็อกของตนเองและอีกประการหนึ่งก็คือ มีการอาศัย Search Engine Index Server หลาย ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทำให้ผลการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร
1. ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว
2. สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย
3. สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทำไว้ เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น
4. มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
5. รองรับการค้นหา ภาษาไทย
2. สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย
3. สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทำไว้ เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น
4. มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
5. รองรับการค้นหา ภาษาไทย
1. ต้องมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับข้อมูลที่ต้องการ คือ
1.1 รู้ว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นเป็นข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องอะไร
1.2 รู้ว่าแหล่งข้อมูลที่มีข้อมูลนั้น น่าจะเป็นหน่วยงานใด
1.3 รู้ว่าคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้น มีอะไรบ้าง
2. ต้องรู้จักวิธีเข้าเว็บไซต์ต่าง ๆ
3. ต้องรู้จักวิธีใช้โปรแกรมสืบค้นข้อมูล หรือ เซิร์จเอ็นจิน ( Search engine )
4. ต้องรู้จักใช้ดุลพินิจว่า
4.1 ข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลที่ตรงกับความต้องการหรือไม่
4.2 ข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้หรือไม่
1.1 รู้ว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นเป็นข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องอะไร
1.2 รู้ว่าแหล่งข้อมูลที่มีข้อมูลนั้น น่าจะเป็นหน่วยงานใด
1.3 รู้ว่าคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้น มีอะไรบ้าง
2. ต้องรู้จักวิธีเข้าเว็บไซต์ต่าง ๆ
3. ต้องรู้จักวิธีใช้โปรแกรมสืบค้นข้อมูล หรือ เซิร์จเอ็นจิน ( Search engine )
4. ต้องรู้จักใช้ดุลพินิจว่า
4.1 ข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลที่ตรงกับความต้องการหรือไม่
4.2 ข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้หรือไม่